อินทผลัม จัดเป็นพืชตระกูลปาล์มชนิดหนึ่ง มีหลากหลายสายพันธุ์ เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดีในเขตที่มีอากาศร้อนและแห้งแล้งอย่างทะเลทราย โดยอินทผาลัมมีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกกลาง ประเทศที่ผลิตอินทผาลัมรายใหญ่ได้แก่ อียิปต์ ซาอุดิอาระเบีย อิหร่าน อาหรับ แอลจีเรีย เรียงตามลำดับ ประโยชน์ของอินทผาลัม การรับประทานอินทผาลัมเป็นประจำจะช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรง ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ ประโยชน์อินทผลัมช่วยบำรุงร่างกาย เพิ่มกำลัง ขจัดความเมื่อยล้า ช่วยดับความหนาวเย็น เมื่อร่างกายมีอาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรง หากรับประทานอินทผาลัมภายในครึ่งชั่วโมงก็จะทำให้ร่างกายกลับมามีกำลังเหมือนเดิม ช่วยรักษาโรคผอมผิดปกติ ช่วยเพิ่มน้ำหนักตัว ช่วยบำรุงกระดูกและฟันให้แข็งแรง ช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุน ช่วยบำรุงและรักษาสายตา ช่วยป้องกันโรคตาบอดแสงหรือภาวะมองเห็นไม่ชัดในเวลากลางคืน ช่วยบำรุงตับอ่อน รักษาโรคเบาหวาน (อ.สุทธิวัสส์) ช่วยดูแลและควบคุมระบบประสาท อินทผลัมมีโพแทสเซียมสูง จึงช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดในสมองได้มากถึง 40% ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูง จุดเด่นและวิธีรับประทาน เอกลักษณ์ที่ทำให้คนส่วนใหญ่ชื่นชอบอินทผาลัม คือ รสชาติที่หวานฉ่ำ สามารถรับประทานได้ ทั้งผลสุกหรือผลดิบ ส่วนใหญ่ผลสุกจะนิยมนำไปตากแห้งเก็บไว้รับประทานได้นานเป็นปี นอกจากนี้ยังสามารถนำผลอินทผาลัมมาคั้นเป็นน้ำดื่ม ที่ให้รสชาติหวาน หอม คล้ายน้ำตาลสด หรือนำอินทผาลัมอบแห้งมาผสมน้ำแล้วปั่นให้ละเอียด จากนั้นนำไปเคี่ยวเพื่อให้ได้ความหวานที่เข้มข้นมากขึ้น
อัญชัน
อัญชัน เป็นพืชที่มีต้นกำเนิดในแถบอเมริกาใต้ ปลูกทั่วไปในเขตร้อน ลักษณะของดอกอัญชันจะมีสีขาว สีฟ้า สีม่วง ส่วนตรงกลางดอกจะมีสีเหลือง และรูปทรงคล้ายหอยเชลล์ มีสรรพคุณที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะมีสารที่ชื่อว่า “แอนโทไซยานิน” (Anthocyanin) ซึ่งมีหน้าที่ไปช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้น เช่น ไปเลี้ยงบริเวณรากผม ซึ่งช่วยทำให้ผมดกดำ เงางาม หรือไปเลี้ยงบริเวณดวงตาจึงช่วยบำรุงสายตาไปด้วยในตัว หรือไปเลี้ยงบริเวณปลายนิ้วมือ ซึ่งก็จะช่วยแก้อาการเหน็บชาได้ด้วย และที่สำคัญสารนี้ยังมีความโดดเด่นที่ใครหลาย ๆ คนยังไม่ทราบ นั่นก็คือช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดเส้นเลือดอุดตันได้ และการ “กินดอกอัญชันทุกวัน…วันละหนึ่งดอก” จะช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบได้อีกด้วย สรรพคุณของอัญชัน น้ำอัญชันมีส่วนช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย เครื่องดื่มน้ำอัญชันช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกายและเพิ่มพลังงานให้ร่างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและริ้วรอยแห่งวัย ชดอกชมีส่วนช่วยในการบำรุงสมอง เพิ่มการไหลเวียนเลือด ดอกอัญชันมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด ช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบ ช่วยรักษาอาการผมร่วง (ดอก) อัญชันทาคิ้ว ทาหัว ใช้เป็นยาปลูกผม ปลูกขนช่วยให้ดกดำเงางามยิ่งขึ้น (น้ำคั้นจากดอก) ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดเส้นเลือดอุดตัน ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจอุดตัน วิธีทำน้ำดอกอัญชัน วัตถุดิบที่ต้องเตรียมมีดังนี้ น้ำดอกอัญชัน 1 ถ้วย / น้ำผึ้ง 2 ช้อนโต๊ะ
อัญชัน เป็นพืชที่มีต้นกำเนิดในแถบอเมริกาใต้ ปลูกทั่วไปในเขตร้อน ลักษณะของดอกอัญชันจะมีสีขาว สีฟ้า สีม่วง ส่วนตรงกลางดอกจะมีสีเหลือง และรูปทรงคล้ายหอยเชลล์ มีสรรพคุณที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะมีสารที่ชื่อว่า “แอนโทไซยานิน” (Anthocyanin) ซึ่งมีหน้าที่ไปช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้น เช่น ไปเลี้ยงบริเวณรากผม ซึ่งช่วยทำให้ผมดกดำ เงางาม หรือไปเลี้ยงบริเวณดวงตาจึงช่วยบำรุงสายตาไปด้วยในตัว หรือไปเลี้ยงบริเวณปลายนิ้วมือ ซึ่งก็จะช่วยแก้อาการเหน็บชาได้ด้วย และที่สำคัญสารนี้ยังมีความโดดเด่นที่ใครหลาย ๆ คนยังไม่ทราบ นั่นก็คือช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดเส้นเลือดอุดตันได้ และการ “กินดอกอัญชันทุกวัน…วันละหนึ่งดอก” จะช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบได้อีกด้วย สรรพคุณของอัญชัน น้ำอัญชันมีส่วนช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย เครื่องดื่มน้ำอัญชันช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกายและเพิ่มพลังงานให้ร่างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและริ้วรอยแห่งวัย ชดอกชมีส่วนช่วยในการบำรุงสมอง เพิ่มการไหลเวียนเลือด ดอกอัญชันมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด ช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบ ช่วยรักษาอาการผมร่วง (ดอก) อัญชันทาคิ้ว ทาหัว ใช้เป็นยาปลูกผม ปลูกขนช่วยให้ดกดำเงางามยิ่งขึ้น (น้ำคั้นจากดอก) ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดเส้นเลือดอุดตัน ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจอุดตัน วิธีทำน้ำดอกอัญชัน วัตถุดิบที่ต้องเตรียมมีดังนี้ น้ำดอกอัญชัน 1 ถ้วย / น้ำผึ้ง 2 ช้อนโต๊ะ
ต้นอังกาบหนู หรือ ต้นอังกาบเหลือง
ต้นอังกาบหนู หรือ ต้นอังกาบเหลือง เป็นไม้พุ่มเตี้ย มีความสูงประมาณ 1-1.5 เมตร แตกกิ่งก้านจำนวนมาก มีลำต้นเกลี้ยง มีหนามยาวอยู่รอบข้อ หนามมีความประมาณ 1-2 เซนติเมตร มักพบขึ้นหนาแน่นเป็นวัชพืชอยู่ตามเขาหินปูนในที่แห้งแล้งทางภาคใต้และภาคตะวันตกเฉียงใต้ของไทย และมีเขตการกระจายพันธุ์ทั่วไปในแอฟริกา ปากีสถาน อินเดีย พม่า มาเลเซีย รวมไปถึงภูมิภาคอินโดจีน สรรพคุณของอังกาบหนู ดอกอังกาบนำมาตากแห้งใช้ปรุงเป็นยาสมุนไพร ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย ช่วยเจริญธาตุไฟได้ดีมาก (ราก, ดอก) รากหรือใบใช้เป็นยาลดไข้ (ราก, ใบ) ช่วยแก้หวัดด้วยการนำใบมาคั้นกิน (ใบ) ช่วยขับเสมหะด้วยการใช้รากของดอกอังกาบสีเหลืองที่ตากแห้งแล้วนำมาต้มเป็นยาดื่ม (ราก) ใบอังกาบหนูใช้เคี้ยวแก้อาการปวดฟันได้ (ใบ) ใบใช้ผสมกับน้ำผึ้งช่วยรักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน (ใบ) น้ำคั้นจากใบใช้หยอดหู แก้หูอักเสบได้ (ใบ) ช่วยป้องกันและแก้อาการท้องผูก (ใบ) ช่วยแก้อาการอาหารไม่ย่อย (ราก) ใช้แก้พิษงู (ใบ) ช่วยรักษาโรคคัน (ใบ) รากหรือใบใช้ผสมกับน้ำมะนาวช่วยรักษากลากเกลื้อน (ใบ, ราก) รากใช้เป็นยาแก้ฝี (ราก) ทั้ง 5 ส่วนของต้นอังกาบหนูใช้เป็นยาแก้ไข้ข้ออักเสบ (ทั้ง
ต้นอังกาบหนู หรือ ต้นอังกาบเหลือง เป็นไม้พุ่มเตี้ย มีความสูงประมาณ 1-1.5 เมตร แตกกิ่งก้านจำนวนมาก มีลำต้นเกลี้ยง มีหนามยาวอยู่รอบข้อ หนามมีความประมาณ 1-2 เซนติเมตร มักพบขึ้นหนาแน่นเป็นวัชพืชอยู่ตามเขาหินปูนในที่แห้งแล้งทางภาคใต้และภาคตะวันตกเฉียงใต้ของไทย และมีเขตการกระจายพันธุ์ทั่วไปในแอฟริกา ปากีสถาน อินเดีย พม่า มาเลเซีย รวมไปถึงภูมิภาคอินโดจีน สรรพคุณของอังกาบหนู ดอกอังกาบนำมาตากแห้งใช้ปรุงเป็นยาสมุนไพร ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย ช่วยเจริญธาตุไฟได้ดีมาก (ราก, ดอก) รากหรือใบใช้เป็นยาลดไข้ (ราก, ใบ) ช่วยแก้หวัดด้วยการนำใบมาคั้นกิน (ใบ) ช่วยขับเสมหะด้วยการใช้รากของดอกอังกาบสีเหลืองที่ตากแห้งแล้วนำมาต้มเป็นยาดื่ม (ราก) ใบอังกาบหนูใช้เคี้ยวแก้อาการปวดฟันได้ (ใบ) ใบใช้ผสมกับน้ำผึ้งช่วยรักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน (ใบ) น้ำคั้นจากใบใช้หยอดหู แก้หูอักเสบได้ (ใบ) ช่วยป้องกันและแก้อาการท้องผูก (ใบ) ช่วยแก้อาการอาหารไม่ย่อย (ราก) ใช้แก้พิษงู (ใบ) ช่วยรักษาโรคคัน (ใบ) รากหรือใบใช้ผสมกับน้ำมะนาวช่วยรักษากลากเกลื้อน (ใบ, ราก) รากใช้เป็นยาแก้ฝี (ราก) ทั้ง 5 ส่วนของต้นอังกาบหนูใช้เป็นยาแก้ไข้ข้ออักเสบ (ทั้ง
ต้นหญ้าแพรก
ต้นหญ้าแพรก มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียและยุโรป เจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและอากาศอบอุ่น โดยจัดเป็นพรรณไม้จำพวกหญ้า ต้นมีขนาดเล็ก มีอายุได้หลายปี ลำต้นแตกกิ่งก้านสาขาปกคลุมดิน เจริญเติบโตแบบแผ่ราบไปตามพื้นดินหรือเลื้อยปกคลุมดินไปได้ยาวประมาณ 1 เมตร และลำต้นชูตั้งขึ้นสูงประมาณ 10-30 เซนติเมตร ลักษณะของลำต้นเป็นข้อและมีรากงอกออกมา ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด กิ่ง ราก และแตกลำต้นไปตามพื้นดิน เจริญเติบเติบโตได้ดีในดินเกือบทุกชนิด ต้องการความชื้นในปริมาณค่อนข้างมาก หญ้าชนิดนี้มักพบขึ้นเองตามพื้นที่แห้งแล้ง ที่ว่างริมถนน หรือในบริเวณสนามหญ้า ทนน้ำท่วมทังและสามารถขึ้นได้ในดินเค็ม ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 40-400 เมตร สรรพคุณของหญ้าแพรก ช่วยแก้โรคเบาหวาน (ลำต้น,ทั้งต้น)ทั้งต้นมีรสขม ชุ่มเล็กน้อย เป็นยาสุขุม ใช้เป็นยาแก้ลมชัก ตรากตรำทำงานหนัก (ทั้งต้น) ใช้เป็นยาแก้ไข้ ด้วยการใช้ลำต้นสดประมาณ 15-30 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน (ลำต้น,ทั้งต้น)ทั้งต้นใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้ไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้หัว รวมถึงเหือดหัด และอีสุกอีใส (ทั้งต้น)ทั้งต้นใช้ต้มกินเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ (ทั้งต้น)ใช้เป็นยาแก้อาเจียนเป็นเลือด (ลำต้น,ทั้งต้น) ช่วยขับลม (ลำต้น,ทั้งต้น) ช่วยแก้อาการท้องเสีย (ลำต้น)[1] ยาต้มของต้นหญ้าแพรกใช้กินเป็นยาแก้ท้องเดินเรื้อรังได้ (ลำต้น) รากและลำต้นมีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ
ต้นหญ้าแพรก มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียและยุโรป เจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและอากาศอบอุ่น โดยจัดเป็นพรรณไม้จำพวกหญ้า ต้นมีขนาดเล็ก มีอายุได้หลายปี ลำต้นแตกกิ่งก้านสาขาปกคลุมดิน เจริญเติบโตแบบแผ่ราบไปตามพื้นดินหรือเลื้อยปกคลุมดินไปได้ยาวประมาณ 1 เมตร และลำต้นชูตั้งขึ้นสูงประมาณ 10-30 เซนติเมตร ลักษณะของลำต้นเป็นข้อและมีรากงอกออกมา ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด กิ่ง ราก และแตกลำต้นไปตามพื้นดิน เจริญเติบเติบโตได้ดีในดินเกือบทุกชนิด ต้องการความชื้นในปริมาณค่อนข้างมาก หญ้าชนิดนี้มักพบขึ้นเองตามพื้นที่แห้งแล้ง ที่ว่างริมถนน หรือในบริเวณสนามหญ้า ทนน้ำท่วมทังและสามารถขึ้นได้ในดินเค็ม ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 40-400 เมตร สรรพคุณของหญ้าแพรก ช่วยแก้โรคเบาหวาน (ลำต้น,ทั้งต้น)ทั้งต้นมีรสขม ชุ่มเล็กน้อย เป็นยาสุขุม ใช้เป็นยาแก้ลมชัก ตรากตรำทำงานหนัก (ทั้งต้น) ใช้เป็นยาแก้ไข้ ด้วยการใช้ลำต้นสดประมาณ 15-30 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน (ลำต้น,ทั้งต้น)ทั้งต้นใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้ไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้หัว รวมถึงเหือดหัด และอีสุกอีใส (ทั้งต้น)ทั้งต้นใช้ต้มกินเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ (ทั้งต้น)ใช้เป็นยาแก้อาเจียนเป็นเลือด (ลำต้น,ทั้งต้น) ช่วยขับลม (ลำต้น,ทั้งต้น) ช่วยแก้อาการท้องเสีย (ลำต้น)[1] ยาต้มของต้นหญ้าแพรกใช้กินเป็นยาแก้ท้องเดินเรื้อรังได้ (ลำต้น) รากและลำต้นมีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ
โปรโมชั่น
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
PROMOTION
ลดด่วน!!!
ลดด่วน!!!
สมุนไพรข้าวฟ่างสมุทรโคดม
สมุนไพรข้าวฟ่างสมุทรโคดม มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า เข้าฟ่างสมุทรโคดม (ชุมพร), ข้าวป้างนก ข้าวป้างหางช้าง (ภาคเหนือ), ข้าวป้างงก (ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ), ข้าวฟ่าง จังหันมะพุด สมุทรโคดม (ภาคกลาง), เข้าป้างหางช้าง มกโคดม มุทโคดม (ภาคใต้), จังหันมะพูด (ไทย), ดั่วป้าง (ม้ง), เพล่เส่อแบ เป่เส่อแบล (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เกาเลี้ยง ฮวงซู่ (จีน) เป็นต้น สรรพคุณของข้าวฟ่างสมุทรโคดม ใช้เมล็ดแห้งประมาณ 30-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน จะมีรสชุ่ม มีสรรพคุณเป็นยาบำรุงและให้พลังงาน (เมล็ด) ใช้เป็นยารักษาโรคประสาท ควบคุมอารมณ์ไม่อยู่ ด้วยการใช้รากข้าวฟ่างสมุทรโคดมแห้งประมาณ 30 กรัม ผสมกับเหง้าว่านน้ำเล็ก (Acorus gramineus soland.) 15 กรัม, หญ้าปล้องจีน (Juncus effuses L.) 15 กรัม,
สมุนไพรข้าวฟ่างสมุทรโคดม มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า เข้าฟ่างสมุทรโคดม (ชุมพร), ข้าวป้างนก ข้าวป้างหางช้าง (ภาคเหนือ), ข้าวป้างงก (ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ), ข้าวฟ่าง จังหันมะพุด สมุทรโคดม (ภาคกลาง), เข้าป้างหางช้าง มกโคดม มุทโคดม (ภาคใต้), จังหันมะพูด (ไทย), ดั่วป้าง (ม้ง), เพล่เส่อแบ เป่เส่อแบล (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เกาเลี้ยง ฮวงซู่ (จีน) เป็นต้น สรรพคุณของข้าวฟ่างสมุทรโคดม ใช้เมล็ดแห้งประมาณ 30-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน จะมีรสชุ่ม มีสรรพคุณเป็นยาบำรุงและให้พลังงาน (เมล็ด) ใช้เป็นยารักษาโรคประสาท ควบคุมอารมณ์ไม่อยู่ ด้วยการใช้รากข้าวฟ่างสมุทรโคดมแห้งประมาณ 30 กรัม ผสมกับเหง้าว่านน้ำเล็ก (Acorus gramineus soland.) 15 กรัม, หญ้าปล้องจีน (Juncus effuses L.) 15 กรัม,
สมุนไพรส้มแขก
สมุนไพรส้มแขก มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ อีก เช่น ชะมวงช้าง, ส้มควาย (ตรัง), อาแซกะลูโก (ยะลา), ส้มพะงุน (ปัตตานี), ส้มมะอ้น ส้มมะวน มะขามแขก (ภาคใต้) เป็นต้น โดยมีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา ซึ่งในบ้านเรานิยมปลูกมากในทางภาคใต้ ส้มแขก สามารถหาซื้อได้มากแถวภาคใต้ตอนล่าง ถ้าคุณมีโอกาสก็ลองไปเดินแถวตลาดนัด เขาจะขายกันแบบฝานเป็นชิ้นบาง ๆ เป็น ส้มแขกตากแห้ง โดยนำไปตากแห้งจนมีสีหมองดำ ๆ หมองคล้ำ ซึ่งสามารถเก็บเอาไว้ใช้ได้นานหลายเดือน โดยวิธีการนำไปใช้ก็ง่ายมาก ๆ เพียงแค่นำไปล้างน้ำให้สะอาดก็ใส่ลงไปในหม้อได้เลย เพียงไม่กี่กลีบก็จะช่วยเพิ่มรสเปรี้ยวแบบนุ่ม ๆ พร้อมให้กลิ่นหอมชวนน่ารับประทานมากยิ่งขึ้น หรือจะนำมาต้มกับน้ำดื่มก็ได้เช่นกัน สรรพคุณของส้มแขก ช่วยแก้อาการไอ (ดอก) ใช้เป็นยาขับเสมหะ (ดอก) ผลแก่นำมาใช้ทำเป็นชาลดความดันได้ หรือจะใช้ดอกก็ได้ (ผลแก่, ดอก) ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ด้วยการใช้ดอกตัวผู้แห้งต้มกับน้ำ (อัตราส่วน 7 ดอก : น้ำ 1 ลิตร) เติมน้ำครั้งที่สองใส่ดอก 3 ดอกต่อน้ำ 1 ลิตร
สมุนไพรส้มแขก มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ อีก เช่น ชะมวงช้าง, ส้มควาย (ตรัง), อาแซกะลูโก (ยะลา), ส้มพะงุน (ปัตตานี), ส้มมะอ้น ส้มมะวน มะขามแขก (ภาคใต้) เป็นต้น โดยมีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา ซึ่งในบ้านเรานิยมปลูกมากในทางภาคใต้ ส้มแขก สามารถหาซื้อได้มากแถวภาคใต้ตอนล่าง ถ้าคุณมีโอกาสก็ลองไปเดินแถวตลาดนัด เขาจะขายกันแบบฝานเป็นชิ้นบาง ๆ เป็น ส้มแขกตากแห้ง โดยนำไปตากแห้งจนมีสีหมองดำ ๆ หมองคล้ำ ซึ่งสามารถเก็บเอาไว้ใช้ได้นานหลายเดือน โดยวิธีการนำไปใช้ก็ง่ายมาก ๆ เพียงแค่นำไปล้างน้ำให้สะอาดก็ใส่ลงไปในหม้อได้เลย เพียงไม่กี่กลีบก็จะช่วยเพิ่มรสเปรี้ยวแบบนุ่ม ๆ พร้อมให้กลิ่นหอมชวนน่ารับประทานมากยิ่งขึ้น หรือจะนำมาต้มกับน้ำดื่มก็ได้เช่นกัน สรรพคุณของส้มแขก ช่วยแก้อาการไอ (ดอก) ใช้เป็นยาขับเสมหะ (ดอก) ผลแก่นำมาใช้ทำเป็นชาลดความดันได้ หรือจะใช้ดอกก็ได้ (ผลแก่, ดอก) ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ด้วยการใช้ดอกตัวผู้แห้งต้มกับน้ำ (อัตราส่วน 7 ดอก : น้ำ 1 ลิตร) เติมน้ำครั้งที่สองใส่ดอก 3 ดอกต่อน้ำ 1 ลิตร
สมุนไพรสะระแหน่
สมุนไพรสะระแหน่ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า หอมด่วน หอมเดือน (ภาคเหนือ), ขะแยะ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), สะระแหน่สวน (ภาคกลาง), มักเงาะ สะแน่ (ภาคใต้) เป็นต้น มีแหล่งกำเนิดในแถบทวีปยุโรปตอนใต้และในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะใบจะคล้ายคลึงกับพืชในตระกูลมิ้นต์มาก มีกลิ่นหอมคล้ายมะนาว รสชาติจะคล้าย ๆ กับตะไคร้หอมและมะนาว สะระแหน่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ หลายชนิด เช่น เบต้าแคโรทีน วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินซี ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก เป็นต้น และยังให้พลังงาน 47 กิโลแคลอรี่ (ใน 100 กรัม) โดยใบสะระแหน่นั้นควรเลือกใช้ใบสดและยอดอ่อนจะได้สรรพคุณที่ดีกว่าใบแห้ง ประโยชน์ของสะระแหน่ ช่วยให้ผิวชุ่มชื้นด้วยการนำใบสะระแหน่มาบดแล้วนำมาทาผิว ช่วยกำจัดอนุมูลอิสระออกจากร่างกาย ใช้เป็นยาเย็น ดับร้อน และขับเหงื่อในร่างกาย ช่วยบำรุงและรักษาสายตา ช่วยลดรอยคล้ำใต้ตาด้วยการนำใบสะระแหน่มาบดให้ละเอียดโดยเติมน้ำระหว่างบดด้วยเล็กน้อย แล้วใส่น้ำผึ้งตามลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำมาทาใต้ตาทิ้ง ไว้ประมาณ
สมุนไพรสะระแหน่ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า หอมด่วน หอมเดือน (ภาคเหนือ), ขะแยะ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), สะระแหน่สวน (ภาคกลาง), มักเงาะ สะแน่ (ภาคใต้) เป็นต้น มีแหล่งกำเนิดในแถบทวีปยุโรปตอนใต้และในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะใบจะคล้ายคลึงกับพืชในตระกูลมิ้นต์มาก มีกลิ่นหอมคล้ายมะนาว รสชาติจะคล้าย ๆ กับตะไคร้หอมและมะนาว สะระแหน่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ หลายชนิด เช่น เบต้าแคโรทีน วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินซี ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก เป็นต้น และยังให้พลังงาน 47 กิโลแคลอรี่ (ใน 100 กรัม) โดยใบสะระแหน่นั้นควรเลือกใช้ใบสดและยอดอ่อนจะได้สรรพคุณที่ดีกว่าใบแห้ง ประโยชน์ของสะระแหน่ ช่วยให้ผิวชุ่มชื้นด้วยการนำใบสะระแหน่มาบดแล้วนำมาทาผิว ช่วยกำจัดอนุมูลอิสระออกจากร่างกาย ใช้เป็นยาเย็น ดับร้อน และขับเหงื่อในร่างกาย ช่วยบำรุงและรักษาสายตา ช่วยลดรอยคล้ำใต้ตาด้วยการนำใบสะระแหน่มาบดให้ละเอียดโดยเติมน้ำระหว่างบดด้วยเล็กน้อย แล้วใส่น้ำผึ้งตามลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำมาทาใต้ตาทิ้ง ไว้ประมาณ
ต้นสบู่เลือด
ต้นสบู่เลือดที่กล่าวถึงในบทความนี้ เป็นไม้คนละชนิดกันกับ “เปล้าเลือด” หรือ “บอระเพ็ดยางแดง” (Stephania venosa Spreng.) หรือที่มีชื่อเรียกเหมือนกันว่า “สบู่เลือด” ซึ่งทั้งสองชนิดนี้จัดอยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน แต่เป็นไม้คนละชนิด นอกจากนี้ยังเป็นคนละชนิดกันกับต้น “สบู่แดง” (Jatropha gossypiifolia L.) ซึ่งจัดอยู่ในวงศ์ยางพารา (EUPHORBIACEAE) เพียงแต่ว่ามีชื่อเรียกเหมือนกันว่า “สบู่เลือด“ สรรพคุณสบู่เลือด ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ ด้วยการใช้หัวนำมาตากแห้งบดเป็นผง ใช้ผสมกับน้ำผึ้งเป็นยาลูกกลอนนำมารับประทาน (หัว) ช่วยทำให้เกิดกำลัง ช่วยบำรุงกำหนัด (หัว, ก้าน) ช่วยบำรุงธาตุไฟ (ใบ) หัวนำมารับประทาน ช่วยทำให้เจริญอาหารและแข็งแรง (หัว) เครือนำมาต้มใส่ไก่ร่วมกับว่านมหากาฬ ใช้รับประทานเป็นยาบำรุงเลือด (เครือ) ช่วยบำรุงเส้นประสาท (ราก)[1] รากหรือหัวนำมาตำใช้พอกศีรษะ ช่วยแก้อาการปวดศีรษะได้ (ราก, หัว) รากหรือหัวสบู่เลือดช่วยแก้หืด (ราก, หัว)[4] ช่วยแก้เสมหะเบื้องบน (หัว, ก้าน) ต้นสบู่เลือดช่วยกระจายลม ขับลมที่แน่นในอกได้ (ต้น) รูปแบบและขนาดวิธีใช้สบู่เลือด ใช้บำรุงกำลัง
ต้นสบู่เลือดที่กล่าวถึงในบทความนี้ เป็นไม้คนละชนิดกันกับ “เปล้าเลือด” หรือ “บอระเพ็ดยางแดง” (Stephania venosa Spreng.) หรือที่มีชื่อเรียกเหมือนกันว่า “สบู่เลือด” ซึ่งทั้งสองชนิดนี้จัดอยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน แต่เป็นไม้คนละชนิด นอกจากนี้ยังเป็นคนละชนิดกันกับต้น “สบู่แดง” (Jatropha gossypiifolia L.) ซึ่งจัดอยู่ในวงศ์ยางพารา (EUPHORBIACEAE) เพียงแต่ว่ามีชื่อเรียกเหมือนกันว่า “สบู่เลือด“ สรรพคุณสบู่เลือด ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ ด้วยการใช้หัวนำมาตากแห้งบดเป็นผง ใช้ผสมกับน้ำผึ้งเป็นยาลูกกลอนนำมารับประทาน (หัว) ช่วยทำให้เกิดกำลัง ช่วยบำรุงกำหนัด (หัว, ก้าน) ช่วยบำรุงธาตุไฟ (ใบ) หัวนำมารับประทาน ช่วยทำให้เจริญอาหารและแข็งแรง (หัว) เครือนำมาต้มใส่ไก่ร่วมกับว่านมหากาฬ ใช้รับประทานเป็นยาบำรุงเลือด (เครือ) ช่วยบำรุงเส้นประสาท (ราก)[1] รากหรือหัวนำมาตำใช้พอกศีรษะ ช่วยแก้อาการปวดศีรษะได้ (ราก, หัว) รากหรือหัวสบู่เลือดช่วยแก้หืด (ราก, หัว)[4] ช่วยแก้เสมหะเบื้องบน (หัว, ก้าน) ต้นสบู่เลือดช่วยกระจายลม ขับลมที่แน่นในอกได้ (ต้น) รูปแบบและขนาดวิธีใช้สบู่เลือด ใช้บำรุงกำลัง