ฟักข้าว ดอกจะออกตรงบริเวณข้อต่อระหว่างใบหรือตามซอกใบ โดยจะออกดอกข้อละหนึ่งดอก ลักษณะของดอกฟักข้าวจะคล้ายกับดอกตำลึง กลีบดอกมีสีขาวอมเหลือง หรือขาวแกมเหลือง ส่วนก้านเกสรและกลีบละอองจะมีสีม่วงแกมดำหรือสีม่วงแกมน้ำตาล ใบเลี้ยงประดับมีขน โดยดอกฟักข้าวจะเป็นดอกแบบไม่สมบูรณ์เพศ แยกเป็นดอกเพศเมียและดอกเพศผู้จะอยู่ต่างต้นกัน ดอกเพศเมียจะมีขนาดเล็ก ปลายใบมน ส่วนดอกเพศผู้ปลายใบแหลม ดอกฟักข้าวมีสีเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ สรรพคุณของฟักข้าว ผลอ่อนและใบอ่อนช่วยลดน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานได้ (ผลอ่อน, ยอดฟักข้าว) ช่วยบำรุงปอด ช่วยแก้ฝีในปอด (เมล็ด) ใบฟักข้าวมีรสขมเย็น มีสรรพคุณช่วยแก้ไข้ตัวร้อนได้ (ใบ) รากช่วยถอนพิษไข้ (ราก) ช่วยขับเสมหะ (ราก) ช่วยแก้ท่อน้ำดีอุดตัน (เมล็ด) ช่วยขับปัสสาวะ (เมล็ด) ใบช่วยแก้ริดสีดวง (ใบ) ใบนำมาตำใช้พอกแก้อาการปวดหลังได้ (ใบ) ช่วยแก้กระดูกเดาะ (ใบ) ช่วยแก้ข้อเข่า อาการปวดตามข้อ (ราก) เมล็ดแก่นำมาบดให้แห้ง ผสมน้ำมันหรือน้ำส้มสายชูเล็กน้อย นำมาใช้ทาบริเวณที่มีอาการอักเสบ อาการบวม จะช่วยรักษาอาการได้ และยังช่วยรักษากลากเกลื้อน โรคผิวหนัง ผดผื่นคันต่าง ๆ อาการฟกช้ำได้อีกด้วย (เมล็ดแก่) รากใช้ต้มดื่มช่วยถอนพิษทั้งปวง
มหาหิงคุ์
มหาหิงคุ์ คือ ชันน้ำมันหรือยางที่ได้มาจากหัวรากใต้ดินหรือลำต้นของพืชในตระกูล Ferula เป็นสีเหลืองอมสีน้ำตาลและมีกลิ่นฉุนต้นมหาหิงคุ์ (Ferula assa-foetida L.) จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 2 เมตร มีหัวอยู่ใต้ดินและมีรากขนาดใหญ่ ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง ผิวลำต้นแตกเป็นร่อง ๆ ที่โคนต้นจะมีใบแทงขึ้นมาจากรากใต้ดิน สรรพคุณของมหาหิงคุ์ ยางจากรากหรือลำต้นมีรสเผ็ดขม กลิ่นฉุน เป็นยาอุ่น ออกฤทธิ์ต่อกระเพาะ ลำไส้ ตับ และม้าม ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย ช่วยขับเสมหะ ใช้เป็นยาขับลม แก้อาการจุกเสียดแน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้อาหารไม่ย่อย ตามตำรับยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อยระบุให้ใช้มหาหิงคุ์ 10 กรัม, พริกไทย 10 กรัม, โกฐกระดูก 20 กรัม, ลูกหมาก 20 กรัม นำมาบดให้เป็นผงทำเป็นยาเม็ดลูกกลอน เม็ดละ 3 กรัม ใช้รับประทานหลังอาหารครั้งละ 10 เม็ดตำรับยาแก้ท้องแข็งแน่นจับกันเป็นก้อน ให้ใช้มหาหิงคุ์ 20 กรัม, ขมิ้นอ้อย
มหาหิงคุ์ คือ ชันน้ำมันหรือยางที่ได้มาจากหัวรากใต้ดินหรือลำต้นของพืชในตระกูล Ferula เป็นสีเหลืองอมสีน้ำตาลและมีกลิ่นฉุนต้นมหาหิงคุ์ (Ferula assa-foetida L.) จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 2 เมตร มีหัวอยู่ใต้ดินและมีรากขนาดใหญ่ ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง ผิวลำต้นแตกเป็นร่อง ๆ ที่โคนต้นจะมีใบแทงขึ้นมาจากรากใต้ดิน สรรพคุณของมหาหิงคุ์ ยางจากรากหรือลำต้นมีรสเผ็ดขม กลิ่นฉุน เป็นยาอุ่น ออกฤทธิ์ต่อกระเพาะ ลำไส้ ตับ และม้าม ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย ช่วยขับเสมหะ ใช้เป็นยาขับลม แก้อาการจุกเสียดแน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้อาหารไม่ย่อย ตามตำรับยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อยระบุให้ใช้มหาหิงคุ์ 10 กรัม, พริกไทย 10 กรัม, โกฐกระดูก 20 กรัม, ลูกหมาก 20 กรัม นำมาบดให้เป็นผงทำเป็นยาเม็ดลูกกลอน เม็ดละ 3 กรัม ใช้รับประทานหลังอาหารครั้งละ 10 เม็ดตำรับยาแก้ท้องแข็งแน่นจับกันเป็นก้อน ให้ใช้มหาหิงคุ์ 20 กรัม, ขมิ้นอ้อย
มะละกอ
มะละกอเป็นผลไม้เพื่อสุขภาพที่มีต้นกำเนิดจากอเมริกากลาง เป็นผลไม้อีกชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานมากในบ้านเรา ด้วยการรับประทานสด ๆ หรือนำมาประกอบอาหาร เช่น ส้มตำ แกงส้ม หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้ มะละกอนั้นจัดว่าเป็นไม้ล้มลุก (หลาย ๆ คนมักเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ประโยชน์ของมะละกอนั้นก็มีค่อนข้างมาก มีสรรพคุณเป็นทั้งยารักษาโรค โดยสรรพคุณมะละกอก็เช่น ใช้เป็นยาระบาย ยาขับปัสสาวะ ช่วยรักษาโรคลักปิดลักเปิด เป็นต้น และยังมีวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 ธาตุแคลเซียม ธาตุโซเดียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก โปรตีน เป็นต้น แต่มีคำแนะนำว่า ไม่ควรรับประทานมะละกอสุกในปริมาณมาก ๆ หรือติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอาจจะทำให้ผิวของคุณเปลี่ยนเป็นสีเหลืองได้ สรรพคุณของมะละกอ มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มารดามีน้ำนมมากขึ้น มะละกอมีส่วนช่วยในการบำรุงประสาทและสมอง มะละกอมีเอนไซม์ที่เป็นยาช่วยย่อยอาหาร ช่วยป้องกันลักปิดลักเปิดหรือเลือดออกตามไรฟันได้ ช่วยรักษาอาการขัดเบา ด้วยการใช้รากสดประมาณ 1 กำมือ รากแห้งอีกครึ่งกำมือ หั่นแล้วนำมาต้มกับน้ำ แล้วนำน้ำมาดื่มวันละ
มะละกอเป็นผลไม้เพื่อสุขภาพที่มีต้นกำเนิดจากอเมริกากลาง เป็นผลไม้อีกชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานมากในบ้านเรา ด้วยการรับประทานสด ๆ หรือนำมาประกอบอาหาร เช่น ส้มตำ แกงส้ม หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้ มะละกอนั้นจัดว่าเป็นไม้ล้มลุก (หลาย ๆ คนมักเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ประโยชน์ของมะละกอนั้นก็มีค่อนข้างมาก มีสรรพคุณเป็นทั้งยารักษาโรค โดยสรรพคุณมะละกอก็เช่น ใช้เป็นยาระบาย ยาขับปัสสาวะ ช่วยรักษาโรคลักปิดลักเปิด เป็นต้น และยังมีวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 ธาตุแคลเซียม ธาตุโซเดียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก โปรตีน เป็นต้น แต่มีคำแนะนำว่า ไม่ควรรับประทานมะละกอสุกในปริมาณมาก ๆ หรือติดต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอาจจะทำให้ผิวของคุณเปลี่ยนเป็นสีเหลืองได้ สรรพคุณของมะละกอ มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มารดามีน้ำนมมากขึ้น มะละกอมีส่วนช่วยในการบำรุงประสาทและสมอง มะละกอมีเอนไซม์ที่เป็นยาช่วยย่อยอาหาร ช่วยป้องกันลักปิดลักเปิดหรือเลือดออกตามไรฟันได้ ช่วยรักษาอาการขัดเบา ด้วยการใช้รากสดประมาณ 1 กำมือ รากแห้งอีกครึ่งกำมือ หั่นแล้วนำมาต้มกับน้ำ แล้วนำน้ำมาดื่มวันละ
มะกอก
โดยทั่วไปแล้วมะกอกจะมีอยู่ด้วยกัน 3-4 ชนิด ได้แก่ มะกอกป่า มะกอกฝรั่ง มะกอกน้ำ และมะกอกโอลีฟ ในบทความนี้เราจะพูดถึงมะกอกไทยหรือมะกอกป่าเท่านั้น โดยมะกอกป่า (มะกอกไทย) เป็นมะกอกชนิดที่เราจะนิยมนำมาใส่ในส้มต้ม ส่วนมะกอกฝรั่ง (มะกอกหวาน) เป็นมะกอกที่นิยมนำมารับประทานสดเป็นผลไม้หรือนำมาทำเป็นน้ำผลไม้ ส่วนมะกอกน้ำ (สารภีน้ำ, สมอพิพ่าย) เป็นมะกอกที่เอามาใช้ในการดองและแช่อิ่ม และมะกอกโอลีฟ เป็นมะกอกที่นำมาทำเป็นน้ำมันมะกอกนั่นเอง สรรพคุณของมะกอก เปลือกต้น ใบ และผล ใช้กินเป็นยาบำรุงธาตุในร่างกาย (เปลือกต้น, ใบ, ผล) เนื้อในผลมีสรรพคุณช่วยแก้ธาตุพิการ เพราะน้ำดีไม่ปกติและกระเพาะอาหารพิการ (เนื้อในผล) ผลมีรสเปรี้ยวอมหวาน สรรพคุณช่วยแก้โรคขาดแคลเซียมได้ (ผล) เปลือกต้นมีรสฝาดเย็นเปรี้ยว มีสรรพคุณช่วยดับพิษกาฬ (เปลือกต้น) ใบมีรสฝาดเปรียว นำมาคั้นเอาน้ำใช้หยอดหู แก้หูอักเสบ แก้อาการปวดหู (ใบ) รากมีรสฝาดเย็น สรรพคุณเป็นยาแก้ร้อนใน กระหายน้ำ ช่วยทำให้ชุ่มคอ (ราก, เปลือกต้น, ใบ, ผล) เมล็ดนำมาเผาไฟ แช่กับน้ำดื่มเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ ทำให้ชุ่มคอ (เมล็ด)
โดยทั่วไปแล้วมะกอกจะมีอยู่ด้วยกัน 3-4 ชนิด ได้แก่ มะกอกป่า มะกอกฝรั่ง มะกอกน้ำ และมะกอกโอลีฟ ในบทความนี้เราจะพูดถึงมะกอกไทยหรือมะกอกป่าเท่านั้น โดยมะกอกป่า (มะกอกไทย) เป็นมะกอกชนิดที่เราจะนิยมนำมาใส่ในส้มต้ม ส่วนมะกอกฝรั่ง (มะกอกหวาน) เป็นมะกอกที่นิยมนำมารับประทานสดเป็นผลไม้หรือนำมาทำเป็นน้ำผลไม้ ส่วนมะกอกน้ำ (สารภีน้ำ, สมอพิพ่าย) เป็นมะกอกที่เอามาใช้ในการดองและแช่อิ่ม และมะกอกโอลีฟ เป็นมะกอกที่นำมาทำเป็นน้ำมันมะกอกนั่นเอง สรรพคุณของมะกอก เปลือกต้น ใบ และผล ใช้กินเป็นยาบำรุงธาตุในร่างกาย (เปลือกต้น, ใบ, ผล) เนื้อในผลมีสรรพคุณช่วยแก้ธาตุพิการ เพราะน้ำดีไม่ปกติและกระเพาะอาหารพิการ (เนื้อในผล) ผลมีรสเปรี้ยวอมหวาน สรรพคุณช่วยแก้โรคขาดแคลเซียมได้ (ผล) เปลือกต้นมีรสฝาดเย็นเปรี้ยว มีสรรพคุณช่วยดับพิษกาฬ (เปลือกต้น) ใบมีรสฝาดเปรียว นำมาคั้นเอาน้ำใช้หยอดหู แก้หูอักเสบ แก้อาการปวดหู (ใบ) รากมีรสฝาดเย็น สรรพคุณเป็นยาแก้ร้อนใน กระหายน้ำ ช่วยทำให้ชุ่มคอ (ราก, เปลือกต้น, ใบ, ผล) เมล็ดนำมาเผาไฟ แช่กับน้ำดื่มเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ ทำให้ชุ่มคอ (เมล็ด)
ต้นยูคาลิปตัส
ต้นยูคาลิปตัส จัดเป็นไม้ยืนต้น ลำต้นตั้งตรง มีความสูงได้ประมาณ 10-25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มหนาทึบค่อนข้างกลม แตกกิ่งก้านมาก เปลือกต้นบางเรียบเป็นมันและลอกออกง่าย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนปนขาว หรือมีสีเทาสลับสีขาวและสีน้ำตาลแดงเป็นบางแห่ง เปลือกนอกจะแตกร่อนเป็นแผ่น ๆ และหลุดออกจากผิวของลำต้น เมื่อแห้งจะลอกได้ง่าย กิ่งก้านเล็กเป็นเหลี่ยม มีจุดตากลม สรรพคุณของยูคาลิปตัส ใบและเปลือกรากมีรสขมเผ็ด กลิ่นหอม เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อปอด ลำไส้ และทางเดินปัสสาวะ ใช้ใบเป็นยาแก้ไข้ ไข้หวัดติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ (ใบ) ใช้เป็นยาแก้ไอ ด้วยการใช้น้ำมันที่กลั่นได้จากใบสด 0.5 มิลลิเมตร (ประมาณ 8 หยด) นำมารับประทานหรือทำเป็นยาอม (ใบ) น้ำมันยูคาลิปตัสนำมาใช้ทาคอ จะช่วยแก้ไอ หรือใช้อมแก้หวัดคัดจมูก (น้ำมันยูคาลิปตัส) ช่วยขับเสมหะ ด้วยการใช้น้ำมันที่กลั่นได้จากใบสด 0.5 มิลลิเมตร (ประมาณ 8 หยด) นำมารับประทานหรือทำเป็นยาอม (ใบ) ช่วยบรรเทาอาการข้ออักเสบ (ใบ) ช่วยรักษาลำไส้อักเสบ แก้บิด (ใบ)
ต้นยูคาลิปตัส จัดเป็นไม้ยืนต้น ลำต้นตั้งตรง มีความสูงได้ประมาณ 10-25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มหนาทึบค่อนข้างกลม แตกกิ่งก้านมาก เปลือกต้นบางเรียบเป็นมันและลอกออกง่าย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อนปนขาว หรือมีสีเทาสลับสีขาวและสีน้ำตาลแดงเป็นบางแห่ง เปลือกนอกจะแตกร่อนเป็นแผ่น ๆ และหลุดออกจากผิวของลำต้น เมื่อแห้งจะลอกได้ง่าย กิ่งก้านเล็กเป็นเหลี่ยม มีจุดตากลม สรรพคุณของยูคาลิปตัส ใบและเปลือกรากมีรสขมเผ็ด กลิ่นหอม เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อปอด ลำไส้ และทางเดินปัสสาวะ ใช้ใบเป็นยาแก้ไข้ ไข้หวัดติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ (ใบ) ใช้เป็นยาแก้ไอ ด้วยการใช้น้ำมันที่กลั่นได้จากใบสด 0.5 มิลลิเมตร (ประมาณ 8 หยด) นำมารับประทานหรือทำเป็นยาอม (ใบ) น้ำมันยูคาลิปตัสนำมาใช้ทาคอ จะช่วยแก้ไอ หรือใช้อมแก้หวัดคัดจมูก (น้ำมันยูคาลิปตัส) ช่วยขับเสมหะ ด้วยการใช้น้ำมันที่กลั่นได้จากใบสด 0.5 มิลลิเมตร (ประมาณ 8 หยด) นำมารับประทานหรือทำเป็นยาอม (ใบ) ช่วยบรรเทาอาการข้ออักเสบ (ใบ) ช่วยรักษาลำไส้อักเสบ แก้บิด (ใบ)
สมุนไพรยาสูบ
สมุนไพรยาสูบ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ยาซูล่ะ (กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ยาซุ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เกร๊อะหร่าเหมาะ (กะเหรี่ยงแดง), ยาออก (ลั้วะ), สะตู้ (ปะหล่อง), จะวั้ว (เขมร-สุรินทร์) เป็นต้น ชนิดของยาสูบ ยาสูบที่สำคัญแบ่งออกเป็น 2 ชนิด (species) ได้แก่ ชนิด Nicotiana tabacum (ที่กล่าวถึงในบทความนี้) ชนิดนี้มีพื้นที่ปลูกถึงร้อยละ 90 ของพื้นที่ปลูกยาสูบทั่วโลก นิยมนำไปใช้ทำผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหลาย[7] ชนิด Nicotiana rustica ชนิดนี้จะมีปริมาณของสารนิโคตินค่อนข้างสูง นำไปใช้ในการทำสารฆ่าแมลง ทำยาเคี้ยว และยาฉุน ประโยชน์ของยาสูบ ใบอ่อนจะนำมาใช้มวนบุหรี่และใช้ทำซิการ์[1] ใบแก่จะนำมาทำเป็นยาเส้นยาตั้ง ยาฉุน และใช้มวนบุหรี่[1] ชาวกะเหรี่ยงจะใช้ใบแก่นำมาซอยให้เป็นฝอยแล้วตากแห้ง พันด้วยใบตองแห้งใช้เป็นยาสูบ หรือใช้เป็นไส้บุหรี่ขี้โย[4] ในส่วนของยาตั้งนั้นหากนำมาผสมกับน้ำมันก๊าดแล้วนำมาใส่ผมก็จะเป็นยาฆ่าเหาได้ โดยให้ใส่ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที ให้ทำวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกันประมาณ 2-3
สมุนไพรยาสูบ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ยาซูล่ะ (กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ยาซุ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เกร๊อะหร่าเหมาะ (กะเหรี่ยงแดง), ยาออก (ลั้วะ), สะตู้ (ปะหล่อง), จะวั้ว (เขมร-สุรินทร์) เป็นต้น ชนิดของยาสูบ ยาสูบที่สำคัญแบ่งออกเป็น 2 ชนิด (species) ได้แก่ ชนิด Nicotiana tabacum (ที่กล่าวถึงในบทความนี้) ชนิดนี้มีพื้นที่ปลูกถึงร้อยละ 90 ของพื้นที่ปลูกยาสูบทั่วโลก นิยมนำไปใช้ทำผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหลาย[7] ชนิด Nicotiana rustica ชนิดนี้จะมีปริมาณของสารนิโคตินค่อนข้างสูง นำไปใช้ในการทำสารฆ่าแมลง ทำยาเคี้ยว และยาฉุน ประโยชน์ของยาสูบ ใบอ่อนจะนำมาใช้มวนบุหรี่และใช้ทำซิการ์[1] ใบแก่จะนำมาทำเป็นยาเส้นยาตั้ง ยาฉุน และใช้มวนบุหรี่[1] ชาวกะเหรี่ยงจะใช้ใบแก่นำมาซอยให้เป็นฝอยแล้วตากแห้ง พันด้วยใบตองแห้งใช้เป็นยาสูบ หรือใช้เป็นไส้บุหรี่ขี้โย[4] ในส่วนของยาตั้งนั้นหากนำมาผสมกับน้ำมันก๊าดแล้วนำมาใส่ผมก็จะเป็นยาฆ่าเหาได้ โดยให้ใส่ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที ให้ทำวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกันประมาณ 2-3
ครีมบำรุงผมน้ำมันมะพร้าว
ครีมหมักผมที่ผสานคุณค่าจากน้ำมันมะพร้าวและน้ำมันอาร์แกน อุดมด้วยวิตามินอี ช่วยบำรุงและฟื้นฟูเส้นผมให้เงางาม ปกป้องเส้นผมจากแสงแดด ทั้งยังมีสารสกัดจากใบหมี่ที่ช่วยให้ความชุ่มชื่นแก่เส้นผม หวีง่าย ผมนุ่มสลวยมีชีวิตชีวา
ครีมหมักผมที่ผสานคุณค่าจากน้ำมันมะพร้าวและน้ำมันอาร์แกน อุดมด้วยวิตามินอี ช่วยบำรุงและฟื้นฟูเส้นผมให้เงางาม ปกป้องเส้นผมจากแสงแดด ทั้งยังมีสารสกัดจากใบหมี่ที่ช่วยให้ความชุ่มชื่นแก่เส้นผม หวีง่าย ผมนุ่มสลวยมีชีวิตชีวา
ต้นว่านท้องใบม่วง
ต้นว่านท้องใบม่วง จัดเป็นไม้ล้มลุก ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงได้ประมาณ 20-40 เซนติเมตร[1] ใบว่านท้องใบม่วง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ขอบใบหยัก ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้มมีขนทั้งสองด้าน ท้องใบเป็นสีม่วงแดง[1] ดอกว่านท้องใบม่วง ออกดอกเดี่ยว ๆ เป็นช่อกระจุกแน่น หรือออกเป็นกลุ่ม ๆ ดอกย่อยเป็นสีเหลือง สรรพคุณของว่านท้องใบม่วง ตำรับยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้ใบว่านท้องใบม่วงนำมาต้มกับไก่กินเป็นยาบำรุงกำลัง (ใบ) รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาหารเป็นพิษ (ราก)รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดท้องหลังการคลอดบุตรของสตรี (ราก) ใบหรือยอดนำมาต้มกับไก่เป็นยาแก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย (ใบ) ประโยชน์ของว่านท้องใบม่วง ใบหรือยอดสามารถนำมาใช้ปรุงเป็นอาหารรับประทานได้
ต้นว่านท้องใบม่วง จัดเป็นไม้ล้มลุก ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ มีความสูงได้ประมาณ 20-40 เซนติเมตร[1] ใบว่านท้องใบม่วง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ขอบใบหยัก ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2-4 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้มมีขนทั้งสองด้าน ท้องใบเป็นสีม่วงแดง[1] ดอกว่านท้องใบม่วง ออกดอกเดี่ยว ๆ เป็นช่อกระจุกแน่น หรือออกเป็นกลุ่ม ๆ ดอกย่อยเป็นสีเหลือง สรรพคุณของว่านท้องใบม่วง ตำรับยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้ใบว่านท้องใบม่วงนำมาต้มกับไก่กินเป็นยาบำรุงกำลัง (ใบ) รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาหารเป็นพิษ (ราก)รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดท้องหลังการคลอดบุตรของสตรี (ราก) ใบหรือยอดนำมาต้มกับไก่เป็นยาแก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย (ใบ) ประโยชน์ของว่านท้องใบม่วง ใบหรือยอดสามารถนำมาใช้ปรุงเป็นอาหารรับประทานได้
ต้นดอกกระดาษ
ต้นดอกกระดาษ จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีอายุปีเดียว ลำต้นมีลักษณะตั้งตรงและค่อนข้างเป็นทรงกระบอก มีสัน สูงได้ประมาณ 0.5-1.2 เมตร ตามลำต้นเมื่ออ่อนจะมีขนนุ่มขึ้นทั่วไป ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ดินร่วนซุย สามารถขึ้นได้ดีในทุกภาคของประเทศไทย เป็นพรรณไม้กลางแจ้งและเป็นไม้พื้นเมืองของประเทศออสเตรเลีย สรรพคุณของดอกกระดาษ ต้นนำมาต้มกับน้ำ แล้วดื่มแต่น้ำ เป็นยาแก้ขัดเบาและแก้นิ่ว (ต้น)[1] ต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้โรคหนองในหรือระดูขาว ตกขาว (ต้น) ประโยชน์ของดอกกระดาษ นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับตามที่สูงทางภาคเหนือ เป็นไม้ดอกที่ปลูกได้ง่าย ต้องการการดูแลรักษาน้อย ชอบอากาศเย็น นับจากวันเพาะเมล็ดจนถึงวันออกดอกชุดแรกใช้เวลาเพียง 3 เดือน และสามารถเก็บเกี่ยวดอกได้ติดต่อกันนานร่วม 2 เดือน
ต้นดอกกระดาษ จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีอายุปีเดียว ลำต้นมีลักษณะตั้งตรงและค่อนข้างเป็นทรงกระบอก มีสัน สูงได้ประมาณ 0.5-1.2 เมตร ตามลำต้นเมื่ออ่อนจะมีขนนุ่มขึ้นทั่วไป ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ชอบแสงแดดจัด ดินร่วนซุย สามารถขึ้นได้ดีในทุกภาคของประเทศไทย เป็นพรรณไม้กลางแจ้งและเป็นไม้พื้นเมืองของประเทศออสเตรเลีย สรรพคุณของดอกกระดาษ ต้นนำมาต้มกับน้ำ แล้วดื่มแต่น้ำ เป็นยาแก้ขัดเบาและแก้นิ่ว (ต้น)[1] ต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้โรคหนองในหรือระดูขาว ตกขาว (ต้น) ประโยชน์ของดอกกระดาษ นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับตามที่สูงทางภาคเหนือ เป็นไม้ดอกที่ปลูกได้ง่าย ต้องการการดูแลรักษาน้อย ชอบอากาศเย็น นับจากวันเพาะเมล็ดจนถึงวันออกดอกชุดแรกใช้เวลาเพียง 3 เดือน และสามารถเก็บเกี่ยวดอกได้ติดต่อกันนานร่วม 2 เดือน
ต้นอินทนิลน้ำ
ต้นอินทนิลน้ำ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เจริญเติบโตเร็วหากปลูกในที่เหมาะสม ต้นมีความสูงประมาณ 5-20 เมตร ลำต้นเล็กและมักคดงอ แต่พอใหญ่ขึ้นจะเปลา ตรง เป็นไม้ผลัดใบแต่ผลิใบใหม่ไว โคนต้นไม้ไม่ค่อยพบพูพอน มักมีกิ่งใหญ่แตกจากลำต้นสูงเหนือจากพื้นดินขึ้นมาไม่มาก จึงมีเรือนยอดที่แผ่กว้าง เป็นพุ่มลักษณะคล้ายรูปร่มและคลุมส่วนโคนต้นเล็กน้อยเท่านั้น (ถ้าเป็นต้นที่ขึ้นตามธรรมชาติในป่ามักจะมีเรือนยอดคลุมลำต้นประมาณ 9/10 ส่วนของความสูงของต้น) ส่วนผิวเปลือกต้นอินทนิลน้ำจะมีสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน มักจะมีรอยด่าง ๆ เป็นดวงขาว ๆ อยู่ทั่วไป ผิวเปลือกจะค่อนข้างเรียบ ไม่แตกเป็นร่องหรือเป็นรอยแผลเป็น เปลือกมีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ที่เปลือกในจะออกสีม่วง นิยมขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด มักพบขึ้นตามที่ราบลุ่มที่ชื้นแฉะทั่วไป รวมไปถึงบริเวณริมฝั่งแม่น้ำลำห้วย หรือในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดงดิบของภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ แต่จะพบได้มากสุดตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และยังพบในป่าพรุหรือป่าบึงในของภาคใต้อีกด้วย นอกจากนี้ต้นอินทนิลน้ำยังเป็นพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดระนองและจังหวัดสกลนครอีกด้วย สรรพคุณของอินทนิล ใบอินทนิลน้ำมีรสขมฝาดเย็น ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้ใบแก่เต็มที่ประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำดื่มในตอนเช้า (ใบแก่) ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ในประเทศญี่ปุ่นได้มีการสกัดสารจากใบอินทนิลน้ำด้วยแอลกอฮอล์ นำไปทำให้เข้มข้นจนได้สารสกัด แล้วนำไปทำเป็นยาเม็ดขนาดเม็ดละ 250 mg. ให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานและมีภาวะไขมันในเส้นเลือดสูงรับประทานครั้งละ
ต้นอินทนิลน้ำ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เจริญเติบโตเร็วหากปลูกในที่เหมาะสม ต้นมีความสูงประมาณ 5-20 เมตร ลำต้นเล็กและมักคดงอ แต่พอใหญ่ขึ้นจะเปลา ตรง เป็นไม้ผลัดใบแต่ผลิใบใหม่ไว โคนต้นไม้ไม่ค่อยพบพูพอน มักมีกิ่งใหญ่แตกจากลำต้นสูงเหนือจากพื้นดินขึ้นมาไม่มาก จึงมีเรือนยอดที่แผ่กว้าง เป็นพุ่มลักษณะคล้ายรูปร่มและคลุมส่วนโคนต้นเล็กน้อยเท่านั้น (ถ้าเป็นต้นที่ขึ้นตามธรรมชาติในป่ามักจะมีเรือนยอดคลุมลำต้นประมาณ 9/10 ส่วนของความสูงของต้น) ส่วนผิวเปลือกต้นอินทนิลน้ำจะมีสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน มักจะมีรอยด่าง ๆ เป็นดวงขาว ๆ อยู่ทั่วไป ผิวเปลือกจะค่อนข้างเรียบ ไม่แตกเป็นร่องหรือเป็นรอยแผลเป็น เปลือกมีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ที่เปลือกในจะออกสีม่วง นิยมขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด มักพบขึ้นตามที่ราบลุ่มที่ชื้นแฉะทั่วไป รวมไปถึงบริเวณริมฝั่งแม่น้ำลำห้วย หรือในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดงดิบของภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ แต่จะพบได้มากสุดตามป่าดงดิบทางภาคใต้ และยังพบในป่าพรุหรือป่าบึงในของภาคใต้อีกด้วย นอกจากนี้ต้นอินทนิลน้ำยังเป็นพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดระนองและจังหวัดสกลนครอีกด้วย สรรพคุณของอินทนิล ใบอินทนิลน้ำมีรสขมฝาดเย็น ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้ใบแก่เต็มที่ประมาณ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำดื่มในตอนเช้า (ใบแก่) ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ในประเทศญี่ปุ่นได้มีการสกัดสารจากใบอินทนิลน้ำด้วยแอลกอฮอล์ นำไปทำให้เข้มข้นจนได้สารสกัด แล้วนำไปทำเป็นยาเม็ดขนาดเม็ดละ 250 mg. ให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานและมีภาวะไขมันในเส้นเลือดสูงรับประทานครั้งละ